chepter 7
Electronic Supply Chain Management
การใช้กลยุทธ์เดิมๆ
คือ
การเร่งพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และบริการให้มีความโดดเด่นและใช้กลยุทธ์
ด้านราคาด้วยการลดต้นทุนและตัดค่าใช้จ่ายลง
แต่องค์กรทุกองกรค์ต่างใช้กลยุทธ์ที่ไม่แตกต่างกันจน
กระทั่งไม่ได้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบกันมากนัก
แต่ในปัจจุบันมีแนวความคิดที่กำลังได้รับความ
สนใจและให้ความสำคัญกันมากคือ
การบริหารซัพพลายเชน
ระบบที่จัดการการบริหารและเชื่อมโยงเครือข่ายตั้งแต่
suppliers, manufacturers,
distributors เพื่อ
ส่งมอบสินค้าหรือบริการให้ลูกค้าโดยมีการเชื่อมโยงระบบข้อมูล
วัตถุดิบ สินค้าและบริการ เงินทุน รวม
ถึงการส่งมอบเข้าด้วยกัน
เพื่อให้การส่งมอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถส่งมอบได้ตรงตาม
เวลาและความต้องการ
ขั้นตอนวิวัฒนาการไปสู่ระบบการจัดการซัพพลายเชน
ระยะที่
1 องค์กรในรูปแบบพื้นฐาน (The Baseline Organization)
ระยะที่
2 องค์กรที่รวมหน้าที่ทางธุรกิจเข้าด้วยกัน (The Functionally Integrated Company)
ระยะที่
3 องค์กรที่รวมการดำเนินงานภายในธุรกิจไว้ด้วยกัน (The Internally Integrated Company)
ระยะที่
4 องค์กรที่รวมการดำเนินงานภายนอกธุรกิจไว้ด้วยกัน (The Externally Integrated Company)
การบริหารจัดการซัพพลายเชน
เป็นการจัดการที่ต้องอาศัยความร่วมมือของคู่ค้าที่เกี่ยวข้องในซัพพลายเชนเราเป็นสำคัญ
องค์กรที่มี
ความรู้ในการบริหารจัดการดีควรต้องถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการปรับปรุงระบบงานและการประสานงาน
ระหว่างองค์กรให้แก่องค์กรอื่นๆ
ในซัพพลายเชน การพัฒนาศักยภาพของซัพพลายเชนนั้น นอกจาก
ระบบการประสานงานที่ดีภายในองค์กรแต่ละองค์กรแล้ว
จะต้องพิจารณาความสามารถในการประสาน
ระบบงานระหว่างองค์กรใน 3 ส่วนหลัก ได้แก่
1.
ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการระหว่างกลุ่ม suppliers (Supply-management interface capabilities)
2.ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า(Demand-management interface capabilities)
3.
ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการสารสนเทศ(Information management capabilities)
ปัญหาของการจัดการซัพพลายเชน
1.
ปัญหาจากการพยากรณ์
2. ปัญหาในกระบวนการผลิต
3.
ปัญหาด้านคุณภาพ
4.
ปัญหาในการส่งมอบสินค้า
5. ปัญหาด้านสารสนเทศ
6.
ปัญหาจากลูกค้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น